Somchai, Jonas, Sombath: Southeast Asia’s Missing Human Rights Warriors

The Diplomat: April 16, 2013

By Mong Palatino

Sombath-DiplomatThai human rights lawyer Somchai Neelapaijit went missing on March 12, 2004. Filipino activist Jonas Burgos was last seen on April 28, 2007. Lao development economist and educator Sombath Somphone disappeared on December 15, 2012.

The search for these missing activists has become a campaign for human rights promotion, not only in their respective countries but across Southeast Asia. Their names have become synonymous with the fight against enforced disappearances, kidnapping, torture, and other human rights atrocities, often carried out with apparent impunity.

At the time of his disappearance, then 53-year-old Somchai was handling cases in southern Thailand, a region ravaged by infighting between government troops and Muslim separatist rebels. Somchai was pursuing a case against police officers accused of torture when he mysteriously disappeared in Bangkok.

Jonas, the son of Philippine press freedom fighter Joe Burgos, was connected with a left-leaning peasant group when he was abducted by suspected state agents in a Quezon City shopping mall. There were witnesses who testified in the court that Jonas shouted ‘Aktibista ako!’ (I’m an activist!) while he was being dragged out of the mall.

Sombath is a popular NGO leader whose work with the Participatory Development Training Centre in Laos earned him the 2005 Ramon Magsaysay Award, known as Asia’s Nobel Prize, for community leadership. Sombath’s disappearance was captured on CCTV footage, which shows Sombath being stopped by police and then abducted by unidentified men. Sombath’s abduction is believed to be related to his advocacy for the protection of land rights for ordinary villagers. Continue reading “Somchai, Jonas, Sombath: Southeast Asia’s Missing Human Rights Warriors”

Solidarity Event for Sombath Somphone in Manila

The Solidarity for Asian People’s Advocacy (SAPA) working group for ASEAN released a message during an event held in front of the Philippine Department of Foreign Affairs on April 12th. The statement calls on the leaders of ASEAN to put enforced disappearances on the agenda of their upcoming summit:

P1020400

On April 24 and 25, these ASEAN leaders will gather in Brunei under the theme of “Our People, Our Future Together.” But how can we invest our future in an ASEAN where peoples’ basic rights are continuously ignored and violated, a community where people are abducted and forced to disappear? We cannot be part of this. If ASEAN wants us to be part of this community then they should put the interests of the people above everything else. They should respect and uphold basic human rights.

The entire statement can be read here. A related letter from the Asian Federation Against Involuntary Disappearances to the Philippine Department of Foreign Affairs can be read here. A video of the event can be seen here.

The event was organized by Focus on the Global South, Asian Federation Against Involuntary Disappearances (AFAD), and Families of Victims of Involuntary Disappearances (FIND).

Missing activist's case losing prominence

The Straights Times: 11 April 2013

ST_20130411_JNISOMBATH90GK_3607406e
Magsaysay Award winner Sombath Somphone with his Singapore wife Ng Shui Meng. Mr Sombath disappeared in the Laotian capital of Vientiane four months ago. — PHOTO: COURTESY OF NG SHUI MENG

A WALL of silence has risen over the disappearance of Magsaysay Award winner Sombath Somphone in Laos four months ago.

His wife, Singaporean national Ng Shui Meng, is exhausted but still not contemplating leaving Laos, the couple’s home for more than 30 years.

“Sometimes I feel this has to be a (bad) dream, a nightmare,” she says. “I stay because there is still some hope.”

Madam Ng was on the way back to Singapore for a break and on a brief stopover in Bangkok yesterday where she had an emotional meeting with Mrs Angkhana Neelapaijit. Her husband – Thai human rights lawyer Somchai Neelapaijit – disappeared under similar circumstances in the Thai capital in 2004.

“I know what Shui Meng is going through,” Mrs Angkhana told The Straits Times. “It’s an emotional seesaw driven by rumours. One day you hear from someone that your husband is alive. The next day you hear that his body has been found.”

Neither man has been found – alive or dead.

Mr Sombath’s abduction may have been triggered by his role in coordinating the Asia-Europe People’s Forum in Vientiane in October last year, where the Laos government came under some criticism. Continue reading “Missing activist's case losing prominence”

นานาชาติกดดันลาวตามหานักพัฒนาชุมชนแมกไซไซถูกอุ้มหายครบ 100 วัน

สำนักฃ่าวอิศรา: 27 มีนาคม 2013

‘เมียทนายสมชาย’ จี้ ‘ดีเอสไอ’ เอาจริงคดีหายตัว นานาชาติกดดันลาวตามหา ‘สมบัด เอ็นจีโอแมกไซไซ’ ถูกอุ้มหาย 100 วัน ภาคประชาสังคมไทยร่วมด้วย

วัน ที่ 27 มี.ค. 56 กองทุนรางวัลสมชาย นีละไพจิตร  มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ โครงการฟื้นฟูนิเวศในภูมิภาคแม่นน้ำโขง  (TERRA) และ แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย จัดเสวนา ‘สิทธิมนุษยชนในประชาคมอาเซียน:กรณีศึกษาการสูญหายของสมบัด สมพอน และสมชาย นีละไพจิตร’ ณ คณะนิติศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ (ท่าพระจันทร์)

นางอังคณา นีละไพจิตร ภรรยานายสมชาย นีละไพจิตร ในฐานะประธานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ กล่าว ว่า ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชนหลายมาตราไม่สอดคล้องกับหลักการสิทธิมนุษย ชนสากล เช่น ม.5, ม.7 และม.8 จึงเกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์ว่าจะคุ้มครองสิทธิของคนในภูมิภาคได้หรือไม่ โดยจากรายงานขององค์การสหประชาชาติ (ยูเอ็น) ที่ได้รับการร้องเรียนระบุอาเซียนมีผู้ถูกบังคับให้สูญหาย แบ่งเป็นประเทศลาว 1 กรณีและเวียดนาม 1 กรณี (ไม่รวมกรณีสมบัด สมพอน) พม่า 2 กรณี อินโดนีเซีย 162 กรณี ไทย 71 กรณี ซึ่งยูเอ็นเคยขอความร่วมมือรัฐบาลไทยเข้าร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริง แต่ได้รับการปฏิเสธ

นางอังคณา ยังกล่าวถึงกรณีทนายสมชายว่าตกเป็นเหยื่อถูกบังคับให้สูญหายจากการกระทำของ เจ้าหน้าที่รัฐ ซึ่งคดีเกิดความไม่โปร่งใสในการสอบสวน ถูกแทรกแซง จนพยานหวาดกลัวว่าจะถูกคุกคามหลบหนีไปต่างประเทศ แม้ว่ารัฐบาลได้ร่วมลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมิให้บุคคลสูญหาย เมื่อปี 55  แล้ว

“กรณีคดี สมชายอาจเป็นเพียงโศกนาฏกรรมส่วนตัวซึ่งไม่ต้องมีใครรับผิดชอบ รัฐบาลอาจจะย้อนว่าได้เงินแล้วจะเอาอะไรอีก ไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับสมชาย เราจะไม่ละทิ้งอุดมการณ์ที่เขามีมาตลอดชีวิต สมชาย นีละไพจิตร ไม่ใช่วีรบุรุษ แต่คือคนธรรมดาซึ่งเชื่อมั่นในความยุติธรรม”

นางอังคณา กล่าว ถึงความคืบหน้าว่าคดีลักพาตัวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของศาลฎีกา และคดีคนสูญหายอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) เป็น 1 ใน 3 คดี (คดีสมชาย นีละไพจิตร-กมล เหล่าโสภาพันธ์-อัลรู ไวลี่) ซึ่งวันนี้ดีเอสไอพยายามทำทุกวิถีทางเพื่อให้จับกุมนายสมคิด บุญถนอม จำเลยคดีอุ้มนายอัลรู ไวลี่ นักธุรกิจชาวซาอุดิอาระเบีย เข้าคุกให้ได้ แต่คดีสมชายและกมลกลับไม่คืบหน้า  สะท้อนว่าบางทีความยุติธรรมจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยปัจจัยดุลอำนาจ ซึ่งเกิดกับคนธรรมดายาก  โดยคุณสมชายเป็นกรณีศึกษาที่รัฐบาลจะต้องสร้างกลไกป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน ทั้งนี้ขอคัดค้านแนวคิดการนำกฎหมายซ้อมทรมานมารวมกับกรณีอุ้มหาย เพราะมีนิยามของคำว่าเหยื่อต่างกัน

“เหยื่อ ในอนุสัญญาซ้อมทรมานหมายถึงผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงทั้งทางกาย จิตใจ และการลดทอนศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ส่วนเหยื่อในนิยามของการอุ้มหาย ไม่ได้หมายถึงผู้ถูกบังคับอุ้มหายเท่านั้น แต่รวมถึงครอบครัว พยาน และบุคคลแวดล้อมที่ต้องได้รับการคุ้มครองด้วย” นางอังคณา กล่าว

นาย วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ นักพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมผู้เคยร่วมงานกับสมบัด ในฐานะผู้อำนวยการเครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาในลุ่มน้ำโขง กล่าวว่าต้น เหตุของการถูกบังคับให้สูญหายจำนวนมาก เกิดจากความขัดแย้งในการแย่งชิงฐานทรัพยากร ปัญหาชาติพันธุ์ ความขัดแย้งข้ามพรมแดน เช่นเดียวกับกรณีหายตัวไปของสมบัด สมพอน (นักพัฒนาอาวุโสชาวลาวที่ได้รับรางวัลแมกไซไซสาขาพัฒนาชุมชนปี 2548) ครบ 100 วัน ซึ่งสมบัดร่วมต่อสู้คัดค้านการนำ พื้นที่ในประเทศให้เอกชนต่างชาติเช่าในระยะเวลาที่ยาวนาน ส่งมีผลกระทบให้ชาวบ้านต้องสูญเสียที่ดินโดยไม่ได้รับค่าชดเชยเลย และร่วมคัดค้านกรณีการสร้างเขื่อนไซยะบุรี ซึ่งอาจสาเหตุของการหายตัวไปหรือการเชือดไก่ให้ลิงดู

วิฑูรย์ กล่าวอีกว่ารัฐบาลลาวประเมินสถานการณ์หายตัวไปของอ้ายสมบัดต่ำเกินไปโดยบอก ว่าไม่รู้ไม่เห็น เพราะขณะนี้ประชาคมโลกกำลังหันมาจับจ้องการตามหาความยุติธรรมในเรื่องนี้

ผู้ สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อ 25 มี.ค. 56 กลุ่มองค์กรภาคประชาสังคมแห่งประเทศไทยเข้ายื่นหนังสือต่อน.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เพื่อขอให้รัฐบาลไทยมีส่วนร่วมคุ้มครองสิทธิพื้นฐานของประชาชนในประเทศลาว กรณีการหายตัวไปของสมบัด สมพอน  ขณะที่นายจอห์น แครี่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลลาวชี้แจงความคืบหน้า .

จากทนายสมชายสู่อ้ายสมบัด 'อังคณา' ขอนานาชาติกระตุ้น รบ.ลาวเร่งหาความจริง

ประชาไท: 27 มีนาคม 2013

ครบ 100 วันการหายตัวไปของ ‘สมบัด สมพอน’ นักกิจกรรมลาว – ‘อังคณา นีละไพจิตร’ ชี้ข้ออ่อนปฏิญญาสิทธิมนุษยชนอาเซียน ไม่อาจคุ้มครองคนใน ขอนานาชาติช่วยกระตุ้นรัฐบาลเร่งหาความจริง เพื่อนร่วมงาน ‘สมบัด’ เชื่อไม่ใช่เรื่องส่วนตัว แต่เชือดไก่ให้ลิงดู

วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ-อังคณา นีละไพจิตร-ประทับจิต นีละไพจิตร

27 มีนาคม 56 ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ กองทุนรางวัลสมชาย นีละไพจิตร ร่วมกับ มูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ โครงการฟื้นฟูนิเวศในภูมิภาคแม่น้ำโขง (TERRA) และแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย จัดเสวนาหัวข้อ “สิทธิมนุษยชนในประชาคมอาเซียน กรณีศึกษาการสูญหายของสมบัด สมพอน และสมชาย นีละไพจิตร มีผู้ร่วมเสวนาคือ นางอังคณา นีละไพจิตร ประธานคณะทำงานยุติธรรมเพื่อสันติภาพ ภรรยาของนายสมชายผู้ถูกบังคับให้หายตัวไป ตั้งแต่วันที่ 12 มีนาคม 2547 และนายวิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ นักพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อมผู้เคยร่วมงานกับสมบัด และผู้อำนวยการเครือข่ายพลังงานเพื่อนิเวศวิทยาในลุ่มน้ำโขง ดำเนินรายการ โดย ประทับจิต นีละไพจิตร

ช่วงเริ่มต้นการเสวนา มีการอ่านแถลงการณ์ของ นางอ๋อง ชุย เม็ง ภรรยาของนายสมบัด นักพัฒนาชาวลาว ผู้ถูกบังคับหายตัวตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม  2555 นางอ๋อง ชุย เม็ง สื่อสารมาว่า ตนเองมีความทุกข์ทรมานต่อการหายตัวไปของสามีอย่างมาก และขอแสดงความเสียใจต่อนางอังคณา พร้อมทั้งแสดงความเคารพต่อความเข้มแข็งกล้าหาญในการต่อสู้เพื่อความยุติธรรม การหายตัวไปของสมบัดนั้น นางอ๋อง ชุย เม็งเห็นว่าเกิดขึ้นโดยการรับรู้ของตำรวจและเป็นหน้าที่ที่รัฐบาลจะต้องรับ ผิดชอบ ให้เขากลับมาอย่างปลอดภัย  แม้ในภายหลัง รัฐบาลได้ยืนยันว่าตำรวจพยายามหานายสมบัดอย่างดีที่สุดแล้ว แต่ไม่พบ ตนเองก็จะยังเชื่อมั่นในการทำงานของรัฐต่อไป เพราะไม่มีทางเลือกอื่นอีก

นาง อ๋อง ชุย เม็ง เห็นว่า การทำให้บุคคลสูญหายไป เป็นการสร้างความหวาดกลัวให้แก่บุคคลในชาติซึ่งมีความคิดความเชื่อ หรือทำกิจกรรมเพื่อต่อต้านความอยุติธรรมในสังคม โดยอาจไม่ได้มีสาเหตุมาจากกลุ่มอาชญากรรม แต่อาจมาจากรัฐเอง เพื่อจะปิดปากพลเมืองที่ทำตัวมีปัญหากับรัฐ  การหายตัวไปของนายสมบัดทำให้เชื่อว่า เราไม่สามารถละเลยการละเมิดสิทธิ์ดังกล่าว เพราะคิดว่าเป็นเพียงเรื่องโชคร้ายของใครบางคน หากต้องยอมรับว่า การสูญหายโดยไม่สมัครใจเป็นอาชญากรรม ละเมิดสิทธิมนุษยชน เป็นการกระทำที่ยังไม่ถูกลงโทษ ทั้งที่เป็นการปรามาสต่อหลักนิติรัฐ

ใน การเสวนา นางอังคณากล่าวถึงการรวมกลุ่มประชาคมอาเซียนว่า การเปิดอาเซียนจะทำให้คนที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจได้รับผลประโยชน์มาก แต่คนกลุ่มอื่นจะได้อะไร คนธรรมดา คนชนชั้นล่างๆ จะได้อะไรบ้าง นางอังคณามองว่า ภูมิภาคอาเซียนมีสิ่งงดงามอยู่ในสังคม ที่หาซื้อจากไหนไม่ได้ นั่นคือ ความเกื้อกูลแบ่งปัน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน แต่เมื่อพูดถึงเรื่องสิทธิ์ การเข้าถึงความยุติธรรม ถือว่ายังเป็นรองภูมิภาคอื่นๆ Continue reading “จากทนายสมชายสู่อ้ายสมบัด 'อังคณา' ขอนานาชาติกระตุ้น รบ.ลาวเร่งหาความจริง”